“เมืองมีนบุรี” ครอบคลุมพื้นที่ 4 เขต ได้แก่ เขตมีนบุรี เขตคลองสามวา เขตหนองจอก และเขตลาดกระบัง เมืองมีนบุรีหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของคนกลุ่มแรกเกิดขึ้นในราวสมัยกรุงธนบุรีจนถึงต้นรัตนโกสินทร์ในปีพ.ศ. 2410 ที่บริเวณวัดแสนสุข รวมถึงเมืองมีนบุรียังมีคลองสำคัญอย่าง “คลองแสนแสบ” ที่ในอดีตถือว่ามีความสำคัญกับผู้คนที่อยู่ในพระนครและคนทางพื้นที่ฝั่งตะวันออก
ในสมัยรัชกาลที่ 5 รัฐมีนโยบายส่งเสริมการปลูกข้าวซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นที่เข้าสู่ยุคเฟื่องฟูของการผลิตข้าวในสยาม ซึ่งรวมถึงบริเวณ “ทุ่งแสนแสบ” ต่อมาเมืองมีนบุรีเกิดการเติบโตของเศรษฐกิจที่เกิดจากค้าข้าว และมีการเพิ่มขึ้นของประชากร ส่งผลให้เกิดการจัดตั้งจังหวัดมีนบุรีขึ้นมาในปีพ.ศ. 2445 โดยรัฐให้ตั้งเมืองใหม่ขึ้นที่ทุ่งแสนแสบ เพื่อให้มีการปกครองเจริญตามจังหวัดธัญบุรีที่ทุ่งรังสิต จนถึงปีพ.ศ. 2474 ก็ได้มีการยุบ “จังหวัดมีนบุรี” รวมเข้ากับจังหวัดพระนคร เพื่อประหยัดงบประมาณราชการ เนื่องจากปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำหลังสงครามโลกครั้งที่ 1
ต่อมาเมืองมีนบุรีเริ่มเข้าสู่สังคมอุตสาหกรรมจากนโยบายตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับบแรกของรัฐบาลช่วงต้นปี 2500 ส่งผลให้เกิดนิคมอุสาหกรรมบางชันขึ้นในปีพ.ศ. 2515 เมืองมีนบุรีเกิดการพัฒนาขึ้นอีกครั้ง หลังจากมีการเริ่มสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าสายสีส้มตะวันออก และรถไฟฟ้าสายสีชมพู ในปีพ.ศ. 2560-2561 เพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองในอนาคต ทำให้พื้นที่เมืองมีนบุรีเริ่มเห็นการเปลี่ยนแปลงตลอดแนวรถไฟฟ้าทั้ง 2 เส้นทาง ทำให้ปัจจุบันพื้นที่ “เมืองมีนบุรี” ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่อนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรมที่มีลักษณะเป็นเมืองกึ่งชนบท
ติดตามได้ ในรายการจากรากสู่เรา ตอนมีนบุรี เมืองปลา นาข้าวและรถไฟฟ้า วันเสาร์ที่ 21 กันยายน 2567 เวลา 14.05 - 14.30 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
แท็กที่เกี่ยวข้อง:
จากรากสู่เรา
ตำนานพระนางเลือดขาว
โคกเมืองวัดเขียนบางแก้วและเมืองสทิงพระ : บ้านเมืองในพุทธศตวรรษที่ 18
ซิงกอรา เมืองสงขลาในสมัยอยุธยา
เมืองพัทลุง บนเส้นทางประวัติศาสตร์
เมืองเก่าสงขลา จากหัวเขาแดงสู่แหลมสนและบ่อยาง
รอยจีนในเมืองเก่าสงขลา
มุสลิมเมืองสงขลา อัตลักษณ์และชาติพันธุ์สัมพันธ์
พุทธศาสนาในลุ่มทะเลสาบสงขลา
เศรษฐกิจแบบโบราณรอบทะเลสาบสงขลา
หลวงปู่ทวด วีรบุรุษทางวัฒนธรรมแห่งเมืองใต้
หาดใหญ่ : ความรุ่งเรืองจากอดีตสู่ปัจจุบัน
จะนะ-เทพา เมืองพรมแดน พุทธ-มุสลิม
เสน่ห์สงขลาสู่เมืองมรดกโลก
วังปลายเนิน
วังแพร่งนรา ยุคทองของละครร้อง เสียงแห่งพระนคร
วังเพชรบูรณ์
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ แลนด์มาร์กเมืองใหม่สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม
นายเลิศ เศรษฐบุตร กับเส้นทางพ่อค้ายุคสยามใหม่
บางกอกน้อย : ความทรงจำที่ไม่เคยสูญหาย
พล นิกร กิมหงวน ในยุคเปลี่ยนผ่านจากสยามเป็นไทย
สามเกลอไปรบ ความรู้สึกของสังคมบนร่องรอยของสงคราม
ป.อินทรปาลิต นักเขียนที่ 100 ปี มีคนเดียว
วังวรดิศ
สวนสุนันทา : พื้นที่ 100 ปีแห่งการศึกษาดนตรีและนาฎกรรม
ย่านสุขุมวิท จากทุ่งนาสู่ทำเลทอง
ย่านคลองสาน-เจริญนคร พัฒนาการบนพื้นที่ประวัติศาสตร์
สวนสนุก : พื้นที่แสนสุขแห่งความทรงจำ
นนทบุรีศรีมหาสมุทร จากเมืองหน้าด่าน สู่เมืองอุทยาน และสวนทุเรียน
บางบัวทอง จากป่าสู่นา จากนาสู่เมือง
เกาะเกร็ด จากเมืองปากด่าน สู่ชุมชนท่องเที่ยวกลางเจ้าพระยา
มีนบุรี เมืองปลา นาข้าวและรถไฟฟ้า
พระพิราพ
ตอนพิเศษ : ศิลปกรรมไทยบนพื้นที่ ผู้คน และวัฒนธรรมอันหลากหลาย
จากรากสู่เรา
ตำนานพระนางเลือดขาว
โคกเมืองวัดเขียนบางแก้วและเมืองสทิงพระ : บ้านเมืองในพุทธศตวรรษที่ 18
ซิงกอรา เมืองสงขลาในสมัยอยุธยา
เมืองพัทลุง บนเส้นทางประวัติศาสตร์
เมืองเก่าสงขลา จากหัวเขาแดงสู่แหลมสนและบ่อยาง
รอยจีนในเมืองเก่าสงขลา
มุสลิมเมืองสงขลา อัตลักษณ์และชาติพันธุ์สัมพันธ์
พุทธศาสนาในลุ่มทะเลสาบสงขลา
เศรษฐกิจแบบโบราณรอบทะเลสาบสงขลา
หลวงปู่ทวด วีรบุรุษทางวัฒนธรรมแห่งเมืองใต้
หาดใหญ่ : ความรุ่งเรืองจากอดีตสู่ปัจจุบัน
จะนะ-เทพา เมืองพรมแดน พุทธ-มุสลิม
เสน่ห์สงขลาสู่เมืองมรดกโลก
วังปลายเนิน
วังแพร่งนรา ยุคทองของละครร้อง เสียงแห่งพระนคร
วังเพชรบูรณ์
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ แลนด์มาร์กเมืองใหม่สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม
นายเลิศ เศรษฐบุตร กับเส้นทางพ่อค้ายุคสยามใหม่
บางกอกน้อย : ความทรงจำที่ไม่เคยสูญหาย
พล นิกร กิมหงวน ในยุคเปลี่ยนผ่านจากสยามเป็นไทย
สามเกลอไปรบ ความรู้สึกของสังคมบนร่องรอยของสงคราม
ป.อินทรปาลิต นักเขียนที่ 100 ปี มีคนเดียว
วังวรดิศ
สวนสุนันทา : พื้นที่ 100 ปีแห่งการศึกษาดนตรีและนาฎกรรม
ย่านสุขุมวิท จากทุ่งนาสู่ทำเลทอง
ย่านคลองสาน-เจริญนคร พัฒนาการบนพื้นที่ประวัติศาสตร์
สวนสนุก : พื้นที่แสนสุขแห่งความทรงจำ
นนทบุรีศรีมหาสมุทร จากเมืองหน้าด่าน สู่เมืองอุทยาน และสวนทุเรียน
บางบัวทอง จากป่าสู่นา จากนาสู่เมือง
เกาะเกร็ด จากเมืองปากด่าน สู่ชุมชนท่องเที่ยวกลางเจ้าพระยา
มีนบุรี เมืองปลา นาข้าวและรถไฟฟ้า
พระพิราพ
ตอนพิเศษ : ศิลปกรรมไทยบนพื้นที่ ผู้คน และวัฒนธรรมอันหลากหลาย