ทบทวนบทเรียน 9 ปีน้ำมันรั่ว ในทะเลมาบตาพุด จ.ระยอง ไปพร้อมกับการลงพื้นที่ของชาวบ้านจากเครือข่ายจะนะรักษ์ถิ่น ชุมชนที่กำลังเผชิญหน้ากับการผลักดันโครงการนิคมอุตสาหกรรมจะนะ จ.สงขลา และกลุ่มฅนรักษ์บ้านเกิด 6 หมู่บ้าน ต.เขาหลวง อ.วังสะพุง จ.เลย ที่ได้รับผลกระทบจากการทำเหมืองทองคำ โดยมีเจ้าบ้านคือ สมาคมประมงพื้นบ้านท้องถิ่นระยอง อ.เมือง จ.ระยอง
ในวาระครบรอบเวียนมาอีกครั้ง แต่การชดเชย เยียวยา และการฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม ยังไม่มีแนวทางที่ชัดเจน ขณะที่โครงการพัฒนาในพื้นที่กำลังเดินหน้า ชุมชน 3 พื้นที่ ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้อะไรบ้าง มาพูดคุยกับ ส.รัตนมณี พลกล้า ผู้จัดการมูลนิธิศูนย์ข้อมูลชุมชน และทนายความด้านสิทธิมนุษยชน
ส่วนคนระยอง มีความเคลื่อนไหวทั้งเครือข่ายประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากโครงการพัฒนาท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ 3 นำรายชื่อผู้เดือดร้อนกว่า 300 คน เดินทางจาก จ.ระยอง มาที่ทำเนียบรัฐบาล เพื่อยื่นหนังสือร้องเรียนถึงนายกรัฐมนตรีให้เยียวยาผลกระทบ
ขณะที่ผู้ประกอบการร้านอาหารและกลุ่มโรงแรม รีสอร์ต บนพื้นที่เกาะเสม็ด หาดสวนสน และหาดสุชาดา รวมทั้งตัวแทนกลุ่มชาวบ้านที่ถูกตัดสิทธิเรื่องการเยียวยา เตรียมฟ้องเรียกค่าเสียหายทางแพ่ง บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง หรือ SPRC เนื่องจากการเยียวยาค่าความเสียหายน้ำมันรั่วปี 2565 ไม่ทั่วถึง
ชวนดูหลายหมุดความเคลื่อนที่รายงานเข้ามาในแอปพลิเคชัน C-site พิกัดแรกกับการเดินหน้าสู่การท่องเที่ยว แบบไร้คาร์บอนรองรับเทรนด์โลก ที่เกาะลันตา จ.กระบี่ พิกัดต่อมา ติดตามกิจกรรมเปิดตัวเว็บไซต์ป่าไม้ภาคพลเมือง www.thaicfnet.org เชื่อมคนอยู่กับป่า
ติดตามได้ในรายการ "คุณเล่า เราขยาย" วันพฤหัสบดีที่ 4 สิงหาคม 2565 เวลา 13.30 - 14.00 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
แท็กที่เกี่ยวข้อง:
คุณเล่า เราขยาย
สิทธิแม่น้ำ ณ ลำน้ำโขง
หาดใหญ่(ยัง)มีชีวิต
หาดใหญ่(ยัง)มีชีวิต
พ.ร.บ.ชาติพันธุ์ กับความหวังคนเท่ากัน
กฎหมายเปิดข้อมูลมลพิษ PRTR เครื่องมือปกป้องชุมชน
โจทย์เก่าเล่าใหม่ เหมืองแร่โปแตชอุดรธานี
ก้าวต่อไป ในวันที่ไร้(เหมือง)หิน
ฟื้นชีวิตคลองแม่ข่า
9 ปีน้ำมันรั่ว บทเรียนฟื้นฟูกู้พลังคนรักบ้านเกิด
3 ทศวรรษ เสียงจากคนลุ่มน้ำอีสาน
จากสงขลา สู่ #SaveSigora กับการดูแลพื้นที่ประวัติศาสตร์
รู้ อยู่ร่วม รับมือภัยพิบัติ
เรียนรู้ เพื่ออยู่ร่วมกัน
เตรียมพร้อม ? รับมือน้ำท่วมอีสาน
เตรียมพร้อม ? รับมือน้ำท่วมอีสาน
"ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน" ความท้าทาย เมื่อชุมชนขอมีส่วนร่วม
ก้าวต่อไปของการแก้ไขปัญหาป่าไม้และที่ดิน
อีกครั้ง (บ้าน) ที่ต้องโยกย้าย
เปิดประตูเรียนรู้ชุมชน
พัทลุงโมเดล แก้ปัญหาปากท้อง
ที่ดิน หนี้สิน และทางรอดของชาวนา
เปิดพื้นที่ให้เติบโต เติมโอกาสคนรุ่นใหม่
การงานผู้สูงวัย(ต้อง)ไปต่อ
ออกแบบการเรียนรู้ เพื่อเด็กอยู่รอดในระบบการศึกษา
ชุมชนและการจัดการแม่น้ำ
ข้อมูล X ประชาชน จับตาสถานการณ์น้ำ
เสริมพลังชุมชน คนสู้น้ำ
โอกาสของพื้นที่ชุ่มน้ำทะเลน้อยต่อมรดกทางการเกษตรโลก
นักสืบชาวบ้าน นักสืบธรรมชาติ
"ไร้บ้าน" ไม่ "ไร้หวัง"
คุณเล่า เราขยาย
สิทธิแม่น้ำ ณ ลำน้ำโขง
หาดใหญ่(ยัง)มีชีวิต
หาดใหญ่(ยัง)มีชีวิต
พ.ร.บ.ชาติพันธุ์ กับความหวังคนเท่ากัน
กฎหมายเปิดข้อมูลมลพิษ PRTR เครื่องมือปกป้องชุมชน
โจทย์เก่าเล่าใหม่ เหมืองแร่โปแตชอุดรธานี
ก้าวต่อไป ในวันที่ไร้(เหมือง)หิน
ฟื้นชีวิตคลองแม่ข่า
9 ปีน้ำมันรั่ว บทเรียนฟื้นฟูกู้พลังคนรักบ้านเกิด
3 ทศวรรษ เสียงจากคนลุ่มน้ำอีสาน
จากสงขลา สู่ #SaveSigora กับการดูแลพื้นที่ประวัติศาสตร์
รู้ อยู่ร่วม รับมือภัยพิบัติ
เรียนรู้ เพื่ออยู่ร่วมกัน
เตรียมพร้อม ? รับมือน้ำท่วมอีสาน
เตรียมพร้อม ? รับมือน้ำท่วมอีสาน
"ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน" ความท้าทาย เมื่อชุมชนขอมีส่วนร่วม
ก้าวต่อไปของการแก้ไขปัญหาป่าไม้และที่ดิน
อีกครั้ง (บ้าน) ที่ต้องโยกย้าย
เปิดประตูเรียนรู้ชุมชน
พัทลุงโมเดล แก้ปัญหาปากท้อง
ที่ดิน หนี้สิน และทางรอดของชาวนา
เปิดพื้นที่ให้เติบโต เติมโอกาสคนรุ่นใหม่
การงานผู้สูงวัย(ต้อง)ไปต่อ
ออกแบบการเรียนรู้ เพื่อเด็กอยู่รอดในระบบการศึกษา
ชุมชนและการจัดการแม่น้ำ
ข้อมูล X ประชาชน จับตาสถานการณ์น้ำ
เสริมพลังชุมชน คนสู้น้ำ
โอกาสของพื้นที่ชุ่มน้ำทะเลน้อยต่อมรดกทางการเกษตรโลก
นักสืบชาวบ้าน นักสืบธรรมชาติ
"ไร้บ้าน" ไม่ "ไร้หวัง"