ชวนพูดคุยประเด็นสิทธิมนุษยชนกับการดำเนินธุรกิจโลกคู่ขนาน แต่สามารถเดินไปด้วยกันได้ และประเทศไทยเองมี “แผนปฏิบัติการระดับชาติด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชน” หรือ "แผน NAP" เป็นประเทศแรกในเอเชีย และตอนนี้กำลังทำร่างแผน 2 ท่ามกลางการตั้งคำถามถึงผลงานเก่าและความท้าทายใหม่ กับตัวอย่างการผลักดันเรื่องธุรกิจเหมืองแร่ไทยกับคุณแววรินทร์ บัวเงิน กลุ่มรักษ์บ้านแหง จ.ลำปาง และ ดร.เสรี นนทสูติ กรรมการในคณะกรรมการสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
ส่วนจับตาสถานการณ์ภาคพลเมือง ตาม "ไครียะ ระหมันยะ" ลูกสาวแห่งท้องทะเลจะนะ ได้ดูกิจกรรมและภาพบรรยากาศจากสำนักงานใหญ่องค์การสหประชาชาติ นครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา ในการประชุมว่าด้วยเรื่อง สนธิสัญญาทะเลหลวง ที่กำหนด “เขตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเล" ตามมาด้วยปัญหา "ช้างป่า" ในเขตป่ารอยต่อ 5 จังหวัด ภาคตะวันออก เข้าบุกรุกพื้นที่เกษตรกรรมชาวบ้านเขาอ่างฤๅไน
จากนั้นชวนขึ้นเหนือไป "บวชภูเขา หยุดเหมืองแร่" อ.แม่ลาน้อย จ.แม่ฮ่องสอน กับการจัดพิธีกรรม 3 ความเชื่อ แล้วกลับมาติดตาม เครือข่ายประชาชนผู้เป็นเจ้าของแร่ ชี้ปัญหานโยบายเหมืองและข้อกังวลต่อแผนแม่บทแร่ฉบับใหม่ ที่จะบังคับใช้ในวันที่ 1 ม.ค. 2566 ส่วนประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน” มีความท้าทายรอบใหม่ เพราะแผนปฏิบัติการระดับชาติด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชน (NAP) อยู่ระหว่างการทำแผนฉบับใหม่ เพื่อเตรียมประกาศใช้ในปี 2566 และจะใช้กันไปถึงปี 2570
ติดตามได้ในรายการ "คุณเล่า เราขยาย" วันศุกร์ที่ 26 สิงหาคม 2565 เวลา 13.30 - 14.00 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
คุณเล่า เราขยาย
สิทธิแม่น้ำ ณ ลำน้ำโขง
หาดใหญ่(ยัง)มีชีวิต
หาดใหญ่(ยัง)มีชีวิต
พ.ร.บ.ชาติพันธุ์ กับความหวังคนเท่ากัน
กฎหมายเปิดข้อมูลมลพิษ PRTR เครื่องมือปกป้องชุมชน
โจทย์เก่าเล่าใหม่ เหมืองแร่โปแตชอุดรธานี
ก้าวต่อไป ในวันที่ไร้(เหมือง)หิน
ฟื้นชีวิตคลองแม่ข่า
9 ปีน้ำมันรั่ว บทเรียนฟื้นฟูกู้พลังคนรักบ้านเกิด
3 ทศวรรษ เสียงจากคนลุ่มน้ำอีสาน
จากสงขลา สู่ #SaveSigora กับการดูแลพื้นที่ประวัติศาสตร์
รู้ อยู่ร่วม รับมือภัยพิบัติ
เรียนรู้ เพื่ออยู่ร่วมกัน
เตรียมพร้อม ? รับมือน้ำท่วมอีสาน
เตรียมพร้อม ? รับมือน้ำท่วมอีสาน
"ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน" ความท้าทาย เมื่อชุมชนขอมีส่วนร่วม
ก้าวต่อไปของการแก้ไขปัญหาป่าไม้และที่ดิน
อีกครั้ง (บ้าน) ที่ต้องโยกย้าย
เปิดประตูเรียนรู้ชุมชน
พัทลุงโมเดล แก้ปัญหาปากท้อง
ที่ดิน หนี้สิน และทางรอดของชาวนา
เปิดพื้นที่ให้เติบโต เติมโอกาสคนรุ่นใหม่
การงานผู้สูงวัย(ต้อง)ไปต่อ
ออกแบบการเรียนรู้ เพื่อเด็กอยู่รอดในระบบการศึกษา
ชุมชนและการจัดการแม่น้ำ
ข้อมูล X ประชาชน จับตาสถานการณ์น้ำ
เสริมพลังชุมชน คนสู้น้ำ
โอกาสของพื้นที่ชุ่มน้ำทะเลน้อยต่อมรดกทางการเกษตรโลก
นักสืบชาวบ้าน นักสืบธรรมชาติ
"ไร้บ้าน" ไม่ "ไร้หวัง"
คุณเล่า เราขยาย
สิทธิแม่น้ำ ณ ลำน้ำโขง
หาดใหญ่(ยัง)มีชีวิต
หาดใหญ่(ยัง)มีชีวิต
พ.ร.บ.ชาติพันธุ์ กับความหวังคนเท่ากัน
กฎหมายเปิดข้อมูลมลพิษ PRTR เครื่องมือปกป้องชุมชน
โจทย์เก่าเล่าใหม่ เหมืองแร่โปแตชอุดรธานี
ก้าวต่อไป ในวันที่ไร้(เหมือง)หิน
ฟื้นชีวิตคลองแม่ข่า
9 ปีน้ำมันรั่ว บทเรียนฟื้นฟูกู้พลังคนรักบ้านเกิด
3 ทศวรรษ เสียงจากคนลุ่มน้ำอีสาน
จากสงขลา สู่ #SaveSigora กับการดูแลพื้นที่ประวัติศาสตร์
รู้ อยู่ร่วม รับมือภัยพิบัติ
เรียนรู้ เพื่ออยู่ร่วมกัน
เตรียมพร้อม ? รับมือน้ำท่วมอีสาน
เตรียมพร้อม ? รับมือน้ำท่วมอีสาน
"ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน" ความท้าทาย เมื่อชุมชนขอมีส่วนร่วม
ก้าวต่อไปของการแก้ไขปัญหาป่าไม้และที่ดิน
อีกครั้ง (บ้าน) ที่ต้องโยกย้าย
เปิดประตูเรียนรู้ชุมชน
พัทลุงโมเดล แก้ปัญหาปากท้อง
ที่ดิน หนี้สิน และทางรอดของชาวนา
เปิดพื้นที่ให้เติบโต เติมโอกาสคนรุ่นใหม่
การงานผู้สูงวัย(ต้อง)ไปต่อ
ออกแบบการเรียนรู้ เพื่อเด็กอยู่รอดในระบบการศึกษา
ชุมชนและการจัดการแม่น้ำ
ข้อมูล X ประชาชน จับตาสถานการณ์น้ำ
เสริมพลังชุมชน คนสู้น้ำ
โอกาสของพื้นที่ชุ่มน้ำทะเลน้อยต่อมรดกทางการเกษตรโลก
นักสืบชาวบ้าน นักสืบธรรมชาติ
"ไร้บ้าน" ไม่ "ไร้หวัง"