ที่นี่ชุมชนเลี้ยงโคขุนเนื้อวากิว อบต.สลักได อ.เมือง จ.สุรินทร์ เมื่อประมาณปี 2554 เกษตรกรได้รวมกลุ่มตั้งเป็นวิสาหกิจชุมชน ซึ่ง อบต. มองเห็นว่าบทบาทท้องถิ่นน่าจะเป็นส่วนในการส่งเสริมสนับสนุน และใน อบต.ก็มีพื้นที่มากพอสมควร ดังนั้นจึงเห็นว่าควรตั้งฟาร์มตัวอย่างเพื่อเป็นต้นแบบให้เกษตกร แต่เดิมวัวเป็นสายพันธุ์วัวไทยพื้นบ้านไทยกระโดน หลังจากนั้นพัฒนาสายพันธุ์มาเป็นลูกผสมวัวบรามัน ชาโลเล จนมาถึงทุกวันนี้สายพันธุ์วัวที่มีความต้องการของตลาด มีการรับซื้อที่ชัดเจน มีการประกันการรับซื้อลูกวัว ก็เป็นสายพันธุ์วากิว เบื้องต้นเป็นการเอาพ่อพันธุ์เข้ามาจากประเทศออสเตรเลีย นำมารีดน้ำเชื้อแจกจ่ายพี่น้องประชาชน นอกจากการเลี้ยงโควากิวแบบขุนเนื้อที่สามารถสร้างรายได้ให้แก่ผู้ประกอบการแล้ว เกษตรกรที่เป็นชาวบ้านรายเล็กรายน้อย ที่เป็นสมาชิกของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนโคขุนวากิวสลักไดกว่า 155 คน ก็สามารถสร้างรายได้จากการเลี้ยงในรูปแบบผลิตลูกโคขุนวากิวขาย
ชมอีกครั้งในรายการสะเทือนไทยทาง www.thaipbs.or.th/SaTaeunThai
สะเทือนไทย
นักสร้างความเปลี่ยนแปลง : เนื้อโคไทยไม่แพ้ชาติใดในโลก
ดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
นักสร้างความเปลี่ยนแปลง : หมู่บ้านนวนาสวรรค์ มีน้ำผึ้งเป็นที่พึ่ง
นักสร้างความเปลี่ยนแปลง : เกาะสีชัง โมเดลเกาะปลอดขยะอินทรีย์
นักสร้างความเปลี่ยนแปลง : แปลงเกษตรสู้แล้ง
นักสร้างความเปลี่ยนแปลง : Soft power แบบชาวบ้าน
ชุมชนท่องเที่ยวแบบธรรมชาติ ECO Tour
นักสร้างความเปลี่ยนแปลง : Start Up ท้องถิ่น
นักสร้างความเปลี่ยนแปลง : เส้นทางเกษตรอินทรีย์
นักสร้างความเปลี่ยนแปลง : “ฟาร์มสเตย์” ฝันที่เป็นจริง
นักสร้างความเปลี่ยนแปลง : คนพิการมีงานทำ
นักสร้างความเปลี่ยนแปลง : ข้าวอินทรีย์ส่งออกนอก
สะเทือนไทย
นักสร้างความเปลี่ยนแปลง : เนื้อโคไทยไม่แพ้ชาติใดในโลก
ดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
นักสร้างความเปลี่ยนแปลง : หมู่บ้านนวนาสวรรค์ มีน้ำผึ้งเป็นที่พึ่ง
นักสร้างความเปลี่ยนแปลง : เกาะสีชัง โมเดลเกาะปลอดขยะอินทรีย์
นักสร้างความเปลี่ยนแปลง : แปลงเกษตรสู้แล้ง
นักสร้างความเปลี่ยนแปลง : Soft power แบบชาวบ้าน
ชุมชนท่องเที่ยวแบบธรรมชาติ ECO Tour
นักสร้างความเปลี่ยนแปลง : Start Up ท้องถิ่น
นักสร้างความเปลี่ยนแปลง : เส้นทางเกษตรอินทรีย์
นักสร้างความเปลี่ยนแปลง : “ฟาร์มสเตย์” ฝันที่เป็นจริง
นักสร้างความเปลี่ยนแปลง : คนพิการมีงานทำ
นักสร้างความเปลี่ยนแปลง : ข้าวอินทรีย์ส่งออกนอก