เหตุแผ่นดินไหวที่ผ่านมา ทำให้เกิดคำถามถึงระบบแจ้งเตือนฉุกเฉินของ รบ., กสทช. ที่ล่าช้า-ไม่ครอบคลุม วันนี้ เครือข่ายประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ ร่วมกับสภาองค์กรของผู้บริโภค นำข้อเสนอร่วมถกในเวที ทบทวนบทบาทหน้าที่ การจัดการคลื่นความถี่สาธารณะ ท่ามกลางภัยพิบัติ
สถานการณ์แผ่นดินไหวในเมียนมายังคงน่ากังวล จนท.ต้องทำงานแข่งกับเวลา เพื่อเร่งค้นหาและช่วยผู้รอดชีวิตออกมาจากใต้ซากความเสียหาย หลังล่วงเข้าสู่วันที่ 4 นับตั้งแต่เกิดเหตุแผ่นดินไหวเมื่อวันศุกร์ที่ 28 มี.ค. ท่ามกลางยอดผู้เสียชีวิตที่เพิ่มขึ้นทะลุ 2,000 คน
ในยุคที่ภัยพิบัติเกิดถี่ขึ้น "Cell Broadcast" กลายเป็นเทคโนโลยีสำคัญที่ช่วยแจ้งเตือน ปชช. อย่างรวดเร็วและครอบคลุม โดยเฉพาะในญี่ปุ่นและยุโรปที่นำระบบนี้ไปใช้จริง สามารถส่งข้อความถึงโทรศัพท์มือถือทุกเครื่องในพื้นที่ภัยพิบัติได้ทันที แม้เครือข่ายจะมีปัญหา
กรณีคลิปสัมภาษณ์ ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ ในเหตุตึกถล่มย่านจตุจักร ที่มีคำถามเชื่อมโยงแผ่นดินไหวกับ พ.ร.บ.สมรสเพศเดียวกัน สมาคมผู้ผลิตข่าวออนไลน์ (SONP) ชี้แจงว่าเป็นเสียงจากบุคคลที่ไม่ใช่นักข่าว เตือนกลั่นกรองข้อมูลก่อนแชร์ ลดความเข้าใจผิดช่วงภัยพิบัติ
ในยามที่ภัยพิบัติหรือเหตุฉุกเฉินมาเยือน "ถุงยังชีพ" หรือ Survival kit กลายเป็นสิ่งที่หลายคนนึกถึงเป็นอันดับแรก เพราะนี่คือชุดอุปกรณ์พื้นฐานที่ช่วยให้เราสามารถเอาตัวรอดและดูแลตัวเองได้ในช่วงเวลาวิกฤต ไม่ว่าจะเป็นน้ำท่วม แผ่นดินไหว หรือแม้แต่สถานการณ์คับขั
ฉะเชิงเทราคือตัวอย่างหนึ่งในหลายเมืองที่อยู่ระหว่างกึ่งกลางการพัฒนา ทั้งในฐานะ “เมืองเกษตรกรรม” ซึ่งเป็นแหล่งผลิตอาหารที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน “เมืองท่องเที่ยวเชิงอาหาร” ที่เชื่อมโยงวิถีวัฒนธรรมกับฐานทรัพยากร และยังเป็น 1 ใน 3 จังหวัดในเขตพัฒนาเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) ที่มุ่งสู่การเป็น “เมืองอัจฉริยะ”