การเจรจากำแพงภาษีระหว่างไทยกับสหรัฐฯ ที่เลื่อนออกไป ถูกตั้งข้อสังเกตว่ามีส่วนจากการที่จีนออกมาประกาศกดดันประเทศคู่ค้าที่ไปเจรจากับสหรัฐฯ หรือไม่ ประเด็นนี้ มีน้ำหนักมากพอที่ทำให้การเจรจาต้องเลื่อน หรือ ยังมีประเด็นอะไรที่สหรัฐฯ ยังไม่สบายใจ ?
ดัชนีเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือนมี.ค. ลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2 เหตุมีความกังวลขึ้นภาษีทรัมป์ กระทบเศรษฐกิจไทยทำฟื้นตัวช้า ม.หอการค้าไทยประเมิน ความเสียหายจากมาตรการขึ้นภาษีนำเข้าของสหรัฐ 10% จะทำให้ไทยสูญเสียมูลค่าการส่งออก 1-1.5 แสนล้านบาท
“พาณิชย์” เผยขั้นตอนสหรัฐฯ เก็บภาษีนำเข้าจากคู่ค้าและไทย เริ่มเก็บภาษี 10% กับสินค้านำเข้าจากทุกประเทศ ตั้งแต่เวลา 00.01 น. ของวันที่ 5 เม.ย. และอัตราใหม่ ไทยโดน 36% เริ่ม 9 เม.ย. ผู้ส่งออกโล่งสินค้าที่ลงเรือมาแล้ว-ระหว่างเดินทางจะไม่ถูกเก็บภาษี
รศ.ปณิธาน วัฒนายากร ผู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคงและการต่างประเทศ สนับสนุนแนวทางการเจรจา และต่อรองภายใต้การรักษาผลประโยชน์ของชาติ แต่ปัญหา คือ เวลานี้ทั้งไทย และสหรัฐ ยังไม่สามารถเปิดการหารือโดยตรงได้ และมองว่า ยังมีโอกาสที่การเจรจาจะบรรลุผล และสามารถปรับลดอัตราภาษี เพื่อบรรเทาผลกระทบลงได้
การปะทะหนักของฝ่ายต่อต้านกับทหารเมียนมาในช่วง 3 วันก่อน ที่ฝั่ง จ.เมียวดี เชิงสะพานมิตรภาพไทย-เมียนมา แห่งที่ 2 กำลังสร้างความกังวลและส่งผลกระทบต่อผู้ประกอบการส่งออกสินค้าของไทย ส่วนคนขับรถบรรทุกก็ยังไม่รู้ชะตากรรมว่าจะไปส่งของได้เมื่อไร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรียกประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการผลไม้เพื่อวางแผนรับมือ ขณะนี้มีชาวสวนบางส่วน ต้องซื้อน้ำไปรดทุเรียนเนื่องจากน้ำมีไม่เพียงพอ แต่เป้าหมายต้องพุ่งชน เพราะจับมือผู้นำเข้าผลไม้รายใหญ่ของจีนผลักดันการส่งออกทุเรียน ตั้งเป้าปีนี้ทะลุ 130,000 ล้านบาท
โลกในยุคปัจจุบันการส่งออก-นำเข้าสินค้าสามารถทำได้ง่ายขึ้น สินค้าหลายอย่างในไทยเป็นที่ต้องการจากต่างประเทศ หากเราต้องการจะส่งออกสินค้าจะเริ่มต้นอย่างไร ? และเงื่อนไขการส่งมอบสินค้าแบบใดถึงจะดีที่สุด ? พูดคุยประเด็นนี้กับ ดร.วิทย์ สิทธิเวคิน และ ไกด์ รัฐศักดิ์ สกุลวัชรอนันต์